เว็บไซต์แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน
ตามข้อตกลงในการพัฒนางาน (PA)
นายธวัชชัย ยอดจันทร์
ตำแหน่ง ครู
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ๒
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566
1.1 ชั่วโมงสอนตามตารางสอน รวมจำนวน 14 ชั่วโมง/สัปดาห์ดังนี้
รายวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา 4 จำนวน 2 ชั่วโมง 30 นาที/สัปดาห์
รายวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา 6 จำนวน 12 ชั่วโมง 30 นาที/สัปดาห์
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
- กิจกรรมผู้บำเพ็ญประโยชน์ จำนวน 50 นาที/สัปดาห์
- กิจกรรมชุมนุม จำนวน 50 นาที/สัปดาห์
- กิจกรรมสาธารณประโยชน์ จำนวน .......... นาที/สัปดาห์
1.2 งานส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ จำนวน 10 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.3 งานพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา จำนวน 2 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.4 งานตอบสนองนโยบายและจุดเน้น จำนวน .......... ชั่วโมง .......... นาที/สัปดาห์
เอกสารกำหนดชั่วโมง
พัฒนาของโรงเรียน
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2567
1.1 ชั่วโมงสอนตามตารางสอน รวมจำนวน 13 ชั่วโมง 20 นาที/สัปดาห์ดังนี้
รายวิชาพลศึกษา 3 จำนวน 13 ชั่วโมง 20 นาที/สัปดาห์
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
- กิจกรรมลูกเสือ จำนวน 50 นาที/สัปดาห์
- กิจกรรมชุมนุม จำนวน 50 นาที/สัปดาห์
- กิจกรรมสาธารณประโยชน์ จำนวน .......... นาที/สัปดาห์
1.2 งานส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ จำนวน 10 ชั่วโมง /สัปดาห์
1.3 งานพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา จำนวน 2 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.4 งานตอบสนองนโยบายและจุดเน้น จำนวน .......... ชั่วโมง .......... นาที/สัปดาห์
เอกสารกำหนดชั่วโมง
พัฒนาของโรงเรียน
ประเด็นท้าทาย เรื่อง การพัฒนาผลการเรียนรู้รายวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา 6 ทักษะโยนและรับลูกซอฟต์บอล ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566
สภาพปัญหา โรงเรียนบดินทร เดชา สิงห์ สิงหเสนี 2 เป็นโรงเรียนขนาดใหญ่ที่เปิดสอนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 – 6 ซึ่งแต่ละห้องเรียนเป็นห้องเรียนที่คละความสามารถ ได้แก่ เก่ง ปานกลาง และอ่อน ด้วยความแตกต่างกันทำให้นักเรียนขาดปฏิสัมพันธ์ระหว่างกัน โดยเฉพาะ ม.6 ที่มุ่งเน้นความถนัดเฉพาะด้าน ทำให้ขาดสมดุลในเรื่องของสุขภาพ การออกกำลังกาย ความร่วมมือ ส่งผลให้นักเรียนขาดความสนใจในการเรียนวิชาพลศึกษา ช่วยเหลือ ส่งเสริม และพัฒนาทักษะที่เกี่ยวข้องกับวิชาพลศึกษา
ออกแบบหน่วยการเรียนรู้โดยการปรับประยุกต์ให้สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา ท้องถิ่น และเหมาะกับผู้เรียน จัดทำคำอธิบายรายวิชา และจัดทำโครงสร้างรายวิชามีกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญด้วยวิธีการปฏิบัติที่สอดคล้องกับธรรมชาติของสาระการเรียนรู้และสามารถ
นำไปปฏิบัติจริง
แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาพลศึกษา 6 (พ33202)
คลิกเพื่อดูเอกสารประกอบ
แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาพลศึกษา 3 (พ22103)
คลิกเพื่อดูเอกสารประกอบ
มีการอำนวยความสะดวกในการเรียนรู้ และส่งเสริมผู้เรียนได้พัฒนาเต็มตามศักยภาพ
เรียนรู้และทำงานร่วมกันโดยมีการปรับประยุกต์ให้สอดคล้องกับความแตกต่างของผู้เรียน
การนิเทศการจัดการเรียนรู้
รายวิชาพลศึกษา 3 (พ22103)
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยกระบวนการเรียนรู้แบบ Active Learning ด้วยรูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบพลศึกษา 5 ขั้น ด้วยเทคนิคคิว (Cue) ผสมผสานกับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิค TGT (Team Game Tournament) ที่ผู้เรียนสามารถนำไปฝึกฝนปฏิบัติจริงและตรวจสอบความสามารถของตนเองได้ผ่านสื่อการจัดการเรียนรู้ อีกทั้งยังส่งเสริมให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ส่งเสริมร่วมกัน ซึ่งการเรียนรู้ในลักษณะนี้ สามารถนำมาปรับใช้ได้ทั้งในห้องเรียน นอกห้องเรียน และทางออนไลน์ เพื่อเข้ากับบริบทของผู้เรียนอย่างเหมาะสม ตามแผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาพลศึกษา
ครูเป็นผู้อำนวยความสะดวกในการเรียนรู้ และส่งเสริม ผู้เรียนได้พัฒนาเต็มตามศักยภาพ เรียนรู้และทำงานร่วมกัน โดยมีการปรับประยุกต์ให้สอดคล้องกับความแตกต่างของผู้เรียน กระตุ้นผู้เรียนให้เกิดคุณลักษณะและสมรรถนะของผู้เรียน
สร้างและพัฒนาเครื่องมือวัดและประเมินผลที่หลากหลาย และสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด และหรือผลการเรียนรู้
เกณฑ์การประเมิน
ทักษะทางกีฬา
เกณฑ์การประเมิน
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
เกณฑ์การประเมิน
การอ่าน คิด วิเคราะห์และเขียน
เกณฑ์การประเมิน
สมรรถนะของผู้เรียน
ใช้กระบวนการวิจัยเพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนาการเรียนรู้ที่ส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียน
กระบวนการวิจัยกึ่งทดลองเกี่ยวกับรูปแบบการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน โดยภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 ศึกษาเรื่องรูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนนิค TGT ซึ่งผลการวิจัยทำให้ทราบว่า การเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือจะช่วยส่งเสริมผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน สร้างบรรยากาศในการเรียนรู้และสามารถต่อยอดไปสู่การเรียนรู้แบบผสมผสานโดยมีสื่อการเรียนรู้และครูผู้สอนเป็นผู้กระตุ้นให้การเรียนรู้เกิดความสนุกสนานและได้รับความรู้อย่างเต็มศักยภาพ
โดยในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2567 จะนำเอารูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือไปศึกษา ทดลองและพัฒนาผู้เรียนต่อไปในรายวิชาพลศึกษา 3
ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้เกิดกระบวนการคิด ทักษะชีวิต ทักษะการทำงานทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม ทักษะด้านสารสนเทศ สื่อและเทคโนโลยี
บรรยากาศการใช้สื่อ
ในการจัดการเรียนรู้
จัดบรรยากาศที่ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียน ให้เกิดกระบวนการคิด ทักษะชีวิต ทักษะการทำงาน ทักษะการเรียนรู้ และ ทักษะด้านสารสนเทศ สื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยี ให้เหมาะสมกับวัยของผู้เรียนและลักษะของผู้เรียน โดยมุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง จิตใจที่อ่อนโยนและเข้มแข็ง อดทน พยายาม ทำงานร่วมกันส่งเสริมให้งานสำเร็จผล ใช้สติปัญญาในการแก้ปัญหาและพัฒนาตนเอง ดังนี้
2.1 จัดทำข้อมูลสารสนเทศของผู้เรียนและรายวิชา
มีการจัดทำข้อมูลสารสนเทศของผู้เรียนและรายวิชา เพื่อใช้ในการ
ส่งเสริมสนับสนุนการเรียนรู้และพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
การติดตามการส่งงานแบบออนไลน์
การวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคลวิชาพลศึกษา 3 (พ22103) และ พลศึกษา 6 (พ33202)
2.2 ดำเนินการตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
มีการใช้ข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับผู้เรียนรายบุคคลและประสาน
ความร่วมมือกับผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง เพื่อพัฒนาและแก้ปัญหาผู้เรียน
ใช้ข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับผู้เรียนรายบุคคล และประสาน ความร่วมมือกับผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง เพื่อพัฒนา และแก้ปัญหาผู้เรียน
- มีการวิเคราะห์ผู้เรียน ทั้งก่อนเรียนและหลังเรียน โดยใช้แบบประเมินความรู้ แบบประเมินทักษะ และให้คะแนนนักเรียนเชิงรูปแบบพัฒนาการแบบเกณฑ์รูบริค
- หลังพบผู้เรียนที่ขาดทักษะร่วมมือในกิจกรรมกีฬา ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จึงได้จัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือ TGT ในรายวิชาซอฟต์บอล เรื่อง การเรียนรู้ทักษะการโยนและการรับเพื่อพัฒนาและแก้ปัญหาผู้เรียนให้มีทักษะการร่วมมือและทักษะกีฬาที่สูงขึ้นตามค่าเป้าหมายของสถานศึกษา
2.3 ปฏิบัติงานวิชาการและงานอื่น ๆ ของสถานศึกษา
ร่วมปฏิบัติงานทางวิชาการ และงานอื่น ๆ ของสถานศึกษาเพื่อยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
ได้เข้าร่วมปฏิบัติงานทางวิชาการ และงานอื่น ๆ ของสถานศึกษา เพื่อยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
- หัวหน้าเวรวันพฤหัสบดี
- งานระเบียบวินัยระดับชั้น ม.2
- งานแจ้งซ่อมพัสดุ อุปกรณ์กลุ่มสาระสุขศึกษาและพลศึกษา
- งานสอนเสริมนอกเวลาเรียน วิชากีฬาบาสเกตบอล และศิลปะการป้องกันตัว
2.4 ประสานความร่วมมือ
ผู้ปกครอง ภาคีเครือข่ายและหรือสถานประกอบการ
1) จัดประชุมผู้ปกครองชั้นเรียน ภาคเรียนละ 1 ครั้งเพื่อติดตามแก้ไขปัญหา
ช่วยเหลือนักเรียนอย่างต่อเนื่อง
2) มีการเยี่ยมบ้านนักเรียนทุกภาคเรียน เพื่อติดตามแก้ไขปัญหา ช่วยเหลือนักเรียนอย่างต่อเนื่อง
3.1 พัฒนาตนเอง
อย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง
พัฒนาตนเองอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง เพื่อให้มีความรู้ ความสามารถ ทักษะ โดยเฉพาะ
อย่างยิ่ง การใช้ภาษาไทยและภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล
การเข้าร่วมอบรมและพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง
3.2 มีส่วนร่วมในการ
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาชีพ
นำองค์ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
เพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้
การเข้าร่วมชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
ของกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
การเข้าร่วมชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
ของโรงเรียน
ผลสะท้อนของนักเรียนในการจัดการเรียนรู้
3.3 นำความรู้ความสามารถทักษะ
ที่ได้จากการพัฒนาตนเองฯ
วิชาพลศึกษา
ชั้น ม.6
วิชาพลศึกษา
ชั้น ม.2
ประเด็นท้าทายในการพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน
โรงเรียนบดินทร เดชา สิงห์ สิงหเสนี 2 เป็นโรงเรียนขนาดใหญ่ที่เปิดสอนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 – 6 ซึ่งแต่ละห้องเรียนเป็นห้องเรียนที่คละความสามารถ ได้แก่ เก่ง ปานกลาง และอ่อน ด้วยความแตกต่างกันทำให้นักเรียนขาดปฏิสัมพันธ์ระหว่างกัน โดยเฉพาะ ม.6 ที่มุ่งเน้นความถนัดเฉพาะด้าน ทำให้ขาดสมดุลในเรื่องของสุขภาพ การออกกำลังกาย ความร่วมมือ ส่งผลให้นักเรียนขาดความสนใจในการเรียนวิชาพลศึกษา ช่วยเหลือ ส่งเสริม และพัฒนาทักษะที่เกี่ยวข้องกับวิชาพลศึกษา
ประเด็นท้าทาย เรื่อง การพัฒนาผลการเรียนรู้รายวิชาพลศึกษา 6 ทักษะการส่งและการรับลูกซอฟต์บอล ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิค TGT (Team Game Tournament)
ขั้นวางแผน (Plan)
1. ศึกษา วิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูล แนวคิด และทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับกระบวนการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิคเกมกลุ่มแข่งขัน (TGT) ในรายวิชาพลศึกษา 6 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
2. ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิคเกมกลุ่มแข่งขัน (TGT) ในหน่วย การเรียนรู้ของรายวิชาพลศึกษา 6 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปฏิบัติแบบฝึกทักษะได้ตามความเหมาะสมของผู้เรียน
3. แลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อตรวจสอบคุณภาพกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิคเกมกลุ่มแข่งขัน (TGT) ในหน่วยการเรียนรู้ของรายวิชาพลศึกษา 6 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
4. ปรับปรุง/พัฒนากิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิคเกมกลุ่มแข่งขัน (TGT) ในหน่วยการเรียนรู้ของรายวิชาพลศึกษา 6 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
ขั้นปฏิบัติ (Do)
นำกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิคเกมกลุ่มแข่งขัน (TGT) ในหน่วยการเรียนรู้ของรายวิชาพลศึกษา 6 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ที่ผ่านการปรับปรุงแล้วไปจัดการเรียนรู้ กับกลุ่มเป้าหมาย
ขั้นตรวจสอบ (Check)
ศึกษาประสิทธิผลของการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิคเกมกลุ่มแข่งขัน (TGT) ในหน่วยการเรียนรู้ของรายวิชาพลศึกษา 6 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
ขั้นปรับปรุงแก้ไข (Action)
ปรับปรุงแก้ไขกระบวนการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิคเกมกลุ่มแข่งขัน (TGT) ในหน่วยการเรียนรู้ของรายวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา 6 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โดย
ขั้นปฏิบัติ (Do)
นำกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิคเกมกลุ่มแข่งขัน (TGT) ในหน่วยการเรียนรู้ของรายวิชาพลศึกษา 6 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ที่ผ่านการปรับปรุงแล้วไปจัดการเรียนรู้ กับกลุ่มเป้าหมาย
ขั้นตรวจสอบ (Check)
ศึกษาประสิทธิผลของการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิคเกมกลุ่มแข่งขัน (TGT) ในหน่วยการเรียนรู้ของรายวิชาพลศึกษา 6 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
ขั้นปรับปรุงแก้ไข (Action)
ปรับปรุงแก้ไขกระบวนการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิคเกมกลุ่มแข่งขัน (TGT) ในหน่วยการเรียนรู้ของรายวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา 6 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โดย
เชิงปริมาณ
เชิงคุณภาพ